รพ.สต.แก่งศรีโคตร รพ.สต.ช่องเม็ก รพ.สต.หัวสะพาน รพ.สต.นิคม2 รพ.สต.คันเปือย รพ.สต.คันไร่ รพ.สต.คำก้อม
ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายยุทธศาสตร์สาธารณสุข ฝ่ายคุ้มครองผู้บริโภค ฝ่ายเวชปฎิบัติครอบครัว ฝ่ายสนับสนุนบริการสุขภาพ
ข้อมูลทรัพยากรด้านสาธารณสุข ข้อมูลสถานะสุขภาพ
ITA ปี2564 ITA ปี2565
สสจ.อุบลราชธานี สสอ.สิรินธร
ระบบรับ-ส่งข้อมูล ระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์ออนไลน์ ระบบหนังสือเวียน ระบบตรวจสอบหนังสือโครงการ ระบบภารกิจผู้บริหาร/ฝ่ายกลุ่มงาน ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
ระบบ HDC กระทรวงสาธารณสุข ระบบ HDC จ.อุบลราชธานี ระบบ HDC โซน 3 ระบบตรวจสอบจำนวน service ระบบตรวจสอบรายงาน KPI เขต 10 ระบบตรวจสอบรายงาน KPI จ.อุบลราชธานี ระบบรายงานแพทย์แผนไทย ระบบสารสนเทศ NCD เขต 10 ระบบสารสนเทศ NCD จังหวัดอุบลราชธานี ระบบตรวจสอบคุณภาพ OP ส่วนกลาง ระบบตรวจสอบคุณภาพ OP เขต 10 ระบบรายงานมะเร็งท่อน้ำดี/พยาธิใบไม้ในตับ
กระทรวงสาธารณสุข สสจ.อุบลราชธานี สปสช. สปสช เขต10 อุบลราชธานี. สำนักงานประกันสังคม สำนักงาน กพ. สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ศูนย์มะเร็ง อุบลราชธานี โรงพยาบาลสิรินธร กรมบัญชีกลาง
ที่มาของปัญหา ขั้นตอนสำคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทำงานคือการรายงานผลการปฏิบัติงานให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้เกี่ยวข้องรับทราบผลการดำเนินงาน โดยเฉพาะการรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดทางด้านสาธารณสุข(KPIs) ซึ่งเดิมสำนักงานจังหวัดอุบลราชธานี กำหนดให้แต่ละอำเภอรายงานผลโดยใช้โปรแกรม Excel ปัญหาที่พบคือ การบันทึกข้อมูลมีความผิดพลาดสับสน ตาลาย เนื่องจากจำนวนตัวชี้วัดมีจำนวนมาก บางครั้งสูตรในโปรแกรมที่ตั้งไว้ถูกลบ ส่งผลให้การแปรผลผิดพลาด ยิ่งถ้าอำเภอใดมีจำนวน รพ.สต.มากยิ่งเพิ่มความผิดพลาดมากขึ้น อีกอย่างไม่สามารถดูข้อมูลย้อนหลังของแต่ละปี รายไตรมาสได้ถ้าจะดูข้อมูลย้อนหลังต้องเปิดไฟล์ Excel ย้อนหลัง เกิดความไม่สะดวก ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้คิดค้นหาแนวทางลดความซ้ำซ้อนและง่ายต่อการบันทึกข้อมูล ค้นหาข้อมูล โดยวิธีการบันทึกลงในโปรแกรมแทนการบันทึกลงใน Excel โดยโปรแกรมบันทึกข้อมูลตัวชี้วัดงานด้านสาธารณสุข ( KPI )จะถูกพัฒนาเป็นระบบ OFFLINE โดยใช้โปรแกรมภาษา Visual Basic ซึ่งง่ายต่อการใช้งาน บันทึกข้อมูล ค้นหาข้อมูล วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้การบันทึกข้อมูลมีความถูกต้องตามตัวชี้วัด KPI ของแต่ละข้อ วิธีการศึกษา เขียนโปรแกรมภาษา Visual Basic โดยมีข้อมูลหลักๆ ที่จะเชื่อมโยงคือ 1. ข้อมูลนำเข้า ได้แก่ ข้อมูลปีที่บันทึก ข้อมูลหัวข้อตัวชี้วัด ข้อมูลรายไตรมาส ข้อมูลหน่วยงานที่บันทึก ข้อมูลผู้บันทึก ข้อมูลหน่วยงานที่ส่ง 2. ข้อมูลนำออก หรือข้อมูลรายงาน ได้แก่ รายงานตัวชี้วัด KPI รายไตรมาส รายปี แยกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3. การประมวลผล มีการตรวจสอบข้อมูลและค้นหาข้อมูลแยกหัวข้อตามยุทธศาสตร์และแยกรายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ผลการศึกษา จากการดำเนินงานการพัฒนาโปรแกรมการบันทึกข้อมูลด้านสาธารณสุข ( KPI ) พบว่าข้อมูลมีการประมวลผลมีความถูกต้อง แม่นยำ ใช้งานง่าย หน้าตาโปรแกรมมีความเหมาะสม ที่จะนำมาใช้งานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ การบันทึกข้อมูลและประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว ผู้บริหารพึงพอใจ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบสามารถบันทึกข้อมูลตัวชี้วัด KPI ตามแต่ละยุทธศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน 2. ผู้บริหารสามารถดูและเกิดความพึงพอใจในผลสรุปข้อมูลที่ชัดเจน